RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้ ที่นี่

ใช้เมาส์ชี้ที่รูปเพื่อดูขนาดใหญ่



สมุลแว้ง

ชื่อเครื่องยา: สมุลแว้ง

ชื่ออื่นๆของเครื่องยา :

ได้จาก : เปลือกต้น

ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา : สมุลแว้ง

ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) : เชียกใหญ่/ เฉียด/ ฝนแสนห่า/ พะแว/ มหาปราบ/ โมงหอม/ อบเชย/ ขนุนมะแว้ง/ จวงดง/ แสงแวง/ ระแวง/ มหาปราบตัวผู้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet

ชื่อพ้อง : Cinnamomum bazania (Buch.-Ham.) Nees/ Cinnamomum obtusifolium (Roxb.) Nees/Cinnamomum sikkimense Lukman./ Cinnamomum van-houttei Lukman./ Laurus bejolghota Buch.-Ham./Laurus obtusifolia

ชื่อวงศ์ : Lauraceae


“เรือนพิพิธภัณฑ์ผ้าทอมือบ้านมาบหม้อ”

Museum House of Handy Craft Weaving

สรรพคุณ


บัญชียา

บัญชียาจากสมุนไพร: ที่มีการใช้ตามองค์ความรู้ดั้งเดิม ตามประกาศ คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา ระบุการใช้เปลือกสมุลแว้งในยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร ปรากฏในตำรับ (ยาธาตุบรรจบ) มีส่วนประกอบของเปลือกสมุลแว้งร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่นๆ ในตำรับ มีสรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ และอาการอุจจาระธาตุพิการ ท้องเสียที่ไม่ติดเชื้อ

ตำรายาไทย

ตำรายาไทย เปลือกต้น หอมฉุน รสร้อนปร่า แก้ลมวิงเวียน และลมที่ทำให้ใจสั่น แก้พิษหวัด กำเดา ขับลมในลำไส้ แก้ธาตุพิการ

แหล่งข้อมูลอ้างอิง