RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้ ที่นี่
ชื่อวิทยาศาสตร์
Lumnitzera racemosa Willd.

ชื่อท้องถิ่น | ฝาดดอกขาว
ชื่อสามัญ | -
วงศ์ | Combretaceae


ถิ่นอาศัย

Mangrove forest (ป่าชายเลน)พืชป่าชายเลน

ลักษณะเด่นและภาพประกอบ

คลิกที่ภาพหรือข้อความเพื่อดูภาพประกอบขนาดใหญ่

แผ่นใบรูปไข่กลับ ปลายมนเว้าตื้น แผ่นใบหนา
ดอกช่อ ดอกย่อยขนาดเล็กสีขาว เกสรเพศผู้ 10 อัน
ไม้ต้นขนาดเล็ก กึ่งไม้พุ่ม
แตกกิ่งต่ำ
ใบหนา รูปไข่กลับ ปลายมนเว้าตื้น
ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว เกสรเพศผู้ 10 อัน
ผลรูปรี แบนข้าง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะวิสัย (habit) : ไม้ต้น (tree)
เรือนยอด ทรงพุ่ม (crow shape) : -
ความสูง (เมตร) : 3 ถึง 8
ความกว้างทรงพุ่ม (เมตร) : 0 ถึง 0

ชนิดของลำต้น
ลำต้นใต้ดิน (underground stem) : -
ลำต้นเหนือดิน (aerial stem) : ตั้งตรงเองได้

สีเปลือกลำต้น : น้ำตาล
ลักษณะเปลือกลำต้น : ขรุขระ

ยาง : ไม่มี
สีของยาง : -

ชนิดของใบ : ใบเดี่ยว (simple leaf)
สีของใบ : -
จำนวนใบย่อย (ใบ) : -
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง (phyllotaxy) : เรียงสลับ แต่มักเรียงเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง
รูปร่างแผ่นใบ (leat shap) : ไข่กลับ (obovate)
ปลายใบ : เว้าตื้น (emarginate)
โคนใบ : รูปลิ่ม (cuneate)
ขอบใบ : เรียบ (entire)

ชนิดของดอก : ดอกช่อ (inflorescence)
ตำแหน่งที่ออกดอก : ปลายยอด (terminal)

ลักษณะ : โคนเชื่อมติดกัน (gamopetalous)
จำนวน (กลีบ) : 5
สี : เขียว

ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : 5
สี : ขาว

สี : ขาว
จำนวน (อัน) : 10

รังไข่ : รังไข่ใต้วงกลีบ (inferior ovary)
จำนวน (อัน) : -
สี : -
กลิ่น : -

ชนิดของผล : ผลเดี่ยว (simple fruit)
ผลสด : ผลขนาดเล็ก รูปรี แบนข้าง
ผลแห้ง : -

การกระจายที่พบ
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ฉะเชิงเทรา

เอกสารอ้างอิง

-