RSPG-สถานีบูรพา เป็นเว็บแอพพลิเคชันและฐานข้อมูลภายใต้ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-ม.บูรพา ที่รวบรวมข้อมูลทรัพยากรในภาคตะวันออกของไทย เปิดให้เข้าใช้งานได้ฟรี โดยสามารถอ้างอิงบทความวิจัยได้ ที่นี่
ชื่อวิทยาศาสตร์
Ampelocissus martinii Planch.

ชื่อท้องถิ่น | เถาเปรี้ยว, เครืออีโกย
ชื่อสามัญ | -
วงศ์ | Vitaceae


ถิ่นอาศัย

ลักษณะเด่นและภาพประกอบ

คลิกที่ภาพหรือข้อความเพื่อดูภาพประกอบขนาดใหญ่

เมื่อ ออกดอกติดผล จะไม่ค่อยปรากฏใบ
ผลสด มองคล้ายพวงองุ่น รสเปรี้ยว รับประทานได้

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ลักษณะวิสัย (habit) : ไม้เถามีเนื้อไม้
เรือนยอด ทรงพุ่ม (crow shape) : -
ความสูง (เมตร) : -
ความกว้างทรงพุ่ม (เมตร) : 0 ถึง 0

ชนิดของลำต้น
ลำต้นใต้ดิน (underground stem) : -
ลำต้นเหนือดิน (aerial stem) : ใช้มือเกาะ (tendril)

สีเปลือกลำต้น : น้ำตาล
ลักษณะเปลือกลำต้น : ขรุขระ

ยาง : -
สีของยาง : -

ชนิดของใบ : ใบเดี่ยว (simple leaf)
สีของใบ : -
จำนวนใบย่อย (ใบ) : -
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง (phyllotaxy) : สลับ (alternate)
รูปร่างแผ่นใบ (leat shap) : รูปหัวใจ (cordate)
ปลายใบ : แหลม (acute)
โคนใบ : รูปตัวใจ (caudate)
ขอบใบ : จักฟันเลื่อย (serrate)

ชนิดของดอก : ช่อแยกแขนง (panicle)
ตำแหน่งที่ออกดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง (cauliflorous)

ลักษณะ : -
จำนวน (กลีบ) : -
สี : -

ลักษณะ : รูประฆัง (companulate)
จำนวน (กลีบ) : -
สี : ชมพูอมแดง

สี : -
จำนวน (อัน) : 5

รังไข่ : รังไข่เหนือวงกลีบ (superior ovary)
จำนวน (อัน) : -
สี : -
กลิ่น : -

ชนิดของผล : -
ผลสด : ผลสด มี 1-2 เมล็ด
ผลแห้ง : -

การกระจายที่พบ
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ฉะเชิงเทรา
ปราจีนบุรี
สระแก้ว

เอกสารอ้างอิง

-